Search
  Pictorial (4)
  Thai Society (554)
  Event News (17)
  TAT News (3)
  KOTRA News (0)
  KTO News (0)
  News in News (27)
  MICE (1)
  Hotel News (1)
  Embassy (3)

      생각하는 골프, 행복을 이끄는 스포츠
 
  생각하는 골프, 행복을 이끄는 스포츠  
     
   
 


 

골프란 어떤 운동일까?

나는 서른살까지 프로야구 선수 생활을 했고 그 이후 골프란 운동을 접하고 늦은  나이에 프로라이센스를 취득했다. 그래서 누구보다도 더 아마추어 입장에 서서 이해하고 교육할 수 있었던 것 같다.

어떻게 해야 골프를 잘 할 수 있는지 수많은 질문을 받았다. 어떤 사람은 매일 매일 연습하면 폼이 몸에 익어서 저절로 스윙이 나올거라고 했다. 또 어떤 사람은 필드에 자주 나가는 게 실력 향상의 지름길로 여겼다. 티칭코치를 잘 만나야 한다는 사람도 있었다. 다 맞는 말이다. 하지만 그전에 ‘왜’ 라는 의문을 먼저 가져야 한다고 생각한다. 골프란 운동은, 아니 모든 정적인 운동은 생각이 먼저다. 

제자리서 하는 사격, 양궁, 야구에선 특히 투수가 그렇다. 야구의 투수와 골프는 아주 많이 닮았다. 몸을 움직이기 전 상황을 머릿속에 그리고 상상해야 하기 때문이다.  상상이 결과로 나타났을 때 그 쾌감은 말로 표현하기 어렵다. 골프가 멘탈 게임이란 말은 여기서 나왔다고 할 수 있다.

장비 또는 도구의 발전이 너무 빠르기 때문에 요즘은 어떤 것이 최신형인지 모를 정도다. 그러나 단언컨대 의문이야 말로 골프를 잘 치는 비결이다. 도구를 이해하면 필드에서 발생하는 상황도 이해할 수 있다. 

프로들이 아이언샷을 했을 때 백스핀이 걸리며 끌려오는 모습을 많이 봤을 것이다.  하지만 프로가 아니라 볼과 클럽에 대한 이해가 있으면 누구나 할 수 있다. 탁구공과 골프공의 차이를 보자. 탁구 경기를 보면 볼이 많이 휘는 모습을 볼 수 있다. 공에 홈이 없어 볼 전체가 공기저항을 받기 때문이다. 골프공이 탁구공 같다면 바람의 영향을 너무 받아서 한 홀을 다 마치기도 어려울 것이다.  

아마추어 골퍼들로부터 그린에 공이 떨어지면 서지 않고 그냥 굴러간다는 하소연을 많이 들었다. 클럽에 대한 이해가 없기 때문에 나온 질문이다. 구력이 오래 된 분들도 간혹 원리를 모르고 그냥 치는 경우가 있다. 스핀을 만들어내기 위해서는 클럽이 다운스윙이 이루어지는 지점에서 볼에 맞아야 한다. 볼이 멈추지 않는 이유는 클럽이 올라가는 지점에서 볼이 맞아 스핀이 발생하지 못한 까닭이다. 차가 뒤로 후진할 땐 반대에 회전이 걸리듯 이치와 같다. 장비나 도구에 대한 이해가 얼마나 중요한지를 말해주는 사례다. 

요즘 정작 가장 큰 문제는 골프에 대한 정보가 넘친다는 것이다. 골퍼들이 너무 많은 정보에 노출이 돼 있다 보니 정작 본인에 스윙에 대해선 정체성이 없다. 레슨 방식이 워낙 다양하다 보니 욕심에 이것저것 다 해보다 결국은 스윙이 망가지는 경우도 본다. 

어느 날 공이 잘 맞았었는데 TV 레슨에서 하체를 먼저 리드하고 다운스윙을 하라고 말을 듣고 따라 한 뒤 공도 너무 안맞고 거리도 턱없이 줄어들었다며 하소연하는 분을 만났다. 너무나 당연한 결과였다. 이미 하체 리드를 잘하고 있는 사람이 그것을 보고 더 많은 하체리드를 하다 보니 하체가 무너진 것이었다. 

좋은 스윙과 힘을 발생시키려면 하체는 리드된 후 정점에서 고정이 되어 있어야 한다. 너무 많은 정보들의 노예가 되지말고 자신의 스윙을 진단받고 거기에 맞는 운동을 하는 것이 현명하다.

프로 스윙 흉내 내는 아마추어 분들이 많은데 절대 따라할 수 없다고 단언한다. 그렇게 하려면 어릴때부터 하루에 6~7 시간 정도 매일 연습해야 가능하다. 아마추어 스케이터가 김연아의 트리플악셀을 따라잡기 어려운 이치다.

골프는 정답이 없다. 또 사람의 신체는 노화하고 변하기 마련이다. 유명한 PGA 프로들도 다 개인 코치가 있는 것은 골프가 그만큼 섬세하고 예민한 운동이라는 뜻이다.  

무엇보다도 골프라는 운동 자체를 즐겼으면 한다. 일주일 내내 빌딩 숲에 지내던 도시인들이 좋은 동반자들과 푸른 잔디를 보는 것은 그 자체로 힐링이 아닌가? 얼굴 붉히며 내기골프 하는 분들을 보면 안타깝다. 골프 실력보다는 상대방을 배려하며 즐겁게 라운딩을 이끄는 사람이 훨씬 멋지다. 생각하게 하는 골프는 행복을 이끄는 스포츠다. 


The BRIDGES Columnist  인현배 
충남 당진 출생. 단국대 출신으로 1994년 프로야구단 LG 트윈스에 입단해 데뷔 첫해 10승을 거두며 그 해 한국시리즈 우승의 견인차가 됐다. 한국 국보급 투수 선동열과 맞대결을 펼쳐 완봉승을 거두기도 했다. 부상으로 2000년 은퇴 후 프로골퍼로 전향했으며, 현재 태국과 한국을 오가며 스포츠 비즈니스를 펼치고 있다. 태국 치앙라이 해피시티 코리아에 재직 중이다.


The Game of Golf,
The Game of Happiness.


    กอล์ฟเป็นกีฬาแบบไหนกันนะ

    ผมเล่นเบสบอลอาชีพมาจนอายุสามสิบ หลังจากนั้นก็มาเล่นกีฬากอล์ฟและได้ Professional License ตอนอายุมากแล้ว ผมเลยเข้าใจความรู้สึกของนักกอล์ฟมือสมัครเล่นมากกว่าคนอื่นและสามารถสอนพวกเขาได้
    
    มีคนถามผมเยอะว่าทำยังไงถึงจะเล่นกอล์ฟได้ดี บางคนบอกว่าถ้าฝึกทุกวันร่างกายจะคุ้นเคยกับท่าทางต่างๆ จนสวิงออกมาได้โดยอัตโนมัติ แต่บางคนก็บอกว่าการออกรอบบ่อยๆ คือทางลัดในการพัฒนาความสามารถ บ้างก็บอกว่าต้องได้โค้ชดีๆ ซึ่งที่ว่ามานั้นถูกต้องทุกอย่าง แต่ผมคิดว่า ก่อนอื่นเราต้องตั้งคำถามกับตัวเองว่า “ทำไม”

    กีฬาที่เล่นอยู่กับที่อย่างยิงปืน ยิงธนู หรือคนขว้างลูกในกีฬาเบสบอลก็เป็นเช่นนี้ การเป็นคนขว้างลูกในกีฬาเบสบอลกับกอล์ฟนั้นเหมือนกันมาก เพราะก่อนขยับตัวจะต้องจินตนาการและวาดภาพสถานการณ์ไว้ในหัว แล้วเวลาที่จินตนาการปรากฏเป็นผลลัพธ์จริงๆ เราจะรู้สึกปลื้มปิติจนยากจะหาคำใดมาบรรยาย นี่คือเหตุผลว่าทำไมกอล์ฟจึงถูกเรียกว่า เกมความคิด

    อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ถูกพัฒนาไปเร็วมากจนเราไม่รู้เลยว่าอันไหนเป็นรุ่นล่าสุด แต่ผมกล้าพูดเลยว่าการตั้งคำถามนี่แหละคือเคล็ดลับในการตีกอล์ฟให้ดี ถ้าเราเข้าใจอุปกรณ์ เราก็จะเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสนามได้

    เราได้เห็นภาพที่บรรดาโปรกอล์ฟใช้ไม้หัวเหล็กตีลูกแบ็คสปินอยู่บ่อยครั้ง แต่ต่อให้ไม่ใช่โปรกอล์ฟก็สามารถตีลูกแบบนั้นได้ ขอแค่เข้าใจไม้และลูกเท่านั้น เรามาดูความแตกต่างระหว่างลูกปิงปองกับลูกกอล์ฟกันก่อน เวลาดูการแข่งขันปิงปองจะเห็นว่า ลูกปิงปองถูกตีจนบุบบ่อย เป็นเพราะว่าลูกปิงปองไม่มีร่อง ตัวลูกจึงต้องรับแรงต้านลม ซึ่งถ้าลูกกอล์ฟต้องรับอิทธิพลของลมเต็มที่เหมือนกับลูกปิงปอง ก็จะตีให้ครบ 19 หลุมได้ยาก  

    ผมได้ยินนักกอล์ฟมือสมัครเล่นบ่นกันบ่อยๆ ว่าเวลาลูกกอล์ฟขึ้นกรีน มันจะไหลไปเรื่อยๆ ไม่ยอมหยุด นี่เป็นคำพูดที่เกิดจากความไม่เข้าใจไม้ บางคนตีมานานแต่กลับเป็นพวกตีไปเรื่อยๆ ไม่เคยรู้หลักการ การตีสปินนั้น ไม้จะต้องกระทบกับลูกตอนดาวน์สวิง ส่วนที่ลูกกอล์ฟหมุนไม่หยุดเป็นเพราะไม้กระทบลูกตอนขาขึ้น ลูกจึงไม่สปินหรือหมุน เหมือนกับการขับรถถอยหลังอยู่ดีๆ รถก็หักเลี้ยวไปฝั่งตรงข้าม และนี่คือตัวอย่างที่บอกให้รู้ว่า ความเข้าใจในเครื่องมือหรืออุปกรณ์นั้นสำคัญแค่ไหน

    ปัญหาที่ใหญ่ที่สุดในช่วงนี้คือ การที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกอล์ฟอย่างล้นหลาม เมื่อนักกอล์ฟได้รับข้อมูลจำนวนมาก ลักษณะการสวิงในแบบของตัวเองจริงๆ จะหายไป

    วิธีการสอนมีอยู่หลากหลาย แต่ถ้าอยากลองนั่นลองนี่ไปเสียหมด สุดท้าย การสวิงของตัวเองก็จะถูกทำลายไป มีคนมาบ่นให้ผมฟังว่า เขาตีได้ดีอยู่แล้ว แต่วันหนึ่งได้ดูรายการสอนกอล์ฟในทีวีที่บอกว่า เวลาดาวน์สวิงให้ถ่ายน้ำหนักตัวลงช่วงล่างก่อน เขาเลยลองทำตาม ปรากฏว่าตีอย่างไรก็ตีไม่ถูก พอตีถูก ระยะก็ลดลงอีก เรื่องนั้นมันแน่นอนอยู่แล้ว เพราะคนที่ถ่ายน้ำหนักลงช่วงล่างได้ดีอยู่แล้ว แล้วไปเพิ่มการถ่ายน้ำหนักตัวลงไปอีก ร่างกายส่วนล่างก็จะเสียศูนย์ ที่จริงถ้าอยากสวิงให้ดีและแรง พอถ่ายน้ำหนักตัวของร่างกายช่วงล่างแล้วจะต้องคงไว้ที่จุดหนึ่ง

    อย่าปล่อยให้ตัวเองตกเป็นทาสของข้อมูล แต่จงวิเคราะห์การสวิงของตัวเองแล้วปรับให้เหมาะกับตัวเองจะดีที่สุด

    ไม่ว่าจะทำอย่างไรนักกอล์ฟสมัครเล่นก็ไม่สามารถตีได้เหมือนโปรกอล์ฟ เพราะกว่าโปรจะตีแบบนั้นได้ เขาต้องฝึกทุกวัน วันละ 6-7ชั่วโมง เช่นเดียวกับนักสเก็ตน้ำแข็งมือสมัครเล่นที่ย่อมจะทำท่าทริปเปิ้ลเอกซ์เซลของคิมยอนอาได้ยาก

    กอล์ฟไม่มีคำตอบตายตัว และร่างกายของมนุษย์ก็มีการเปลี่ยนแปลงและเสื่อมถอยตลอดเวลา เหตุผลที่บรรดาโปรกอล์ฟพีจีเอต้องมีโค้ชส่วนตัวกันทุกคนก็เพราะกอล์ฟเป็นกีฬาที่ละเมียดละไมและจุกจิกนั่นเอง

    เหนือสิ่งอื่นใดคือการสนุกไปกับกีฬาที่เรียกว่า “กอล์ฟ” การได้เห็นสนามหญ้าเขียวๆ อยู่กับเพื่อนดีๆ ถือเป็นการพักผ่อนของคนเมืองที่ต้องอยู่ในป่าคอนกรีตมาทั้งอาทิตย์ เวลาเจอคนที่ตีกอล์ฟแข่งพนันกันจนหน้าดำหน้าแดงผมจะรู้สึกอึดอัดใจมาก เพราะภาพของนักกอล์ฟที่ให้เกียรติคู่แข่งและเล่นกอล์ฟอย่างเพลิดเพลิน แทนที่จะให้ความสำคัญกับความสามารถนั้นเท่กว่ากันมาก และกีฬากอล์ฟซึ่งต้องเล่นด้วยความคิดก็จะเป็นกีฬาที่นำความสุขมาให้กับเรา


The BRIDGES Columnist  อืนฮยอนแบ
เกิดที่เมืองดังจิน จังหวัดชุงนัม จบจากมหาวิทยาลัยดันรกุก ก้าวเข้าสู่วงการเบสบอลอาชีพเมื่อปี 2537 สังกัด LG Twins หามารถคว้าชัยชนะได้ 10 นัดในปีแรกที่ลงเล่น และเป็นคนสำคัญที่นำทีมคว้ารางวัลชนะเลิส Korean Series ในปีเดียวกัน เคยเอาชนะซอนดงยอล พิชเชอร์ระดับตำนานของเกาหลี ด้วยการขว้างลูกคนเดียวทั้งเกมและไม่เสียแต้มให้คู่แข่งเลย หลังจากเลิกเล่นเบสบอลเมื่อปี 2543 เพราะบาดเจ็บ เขาหันมาเล่นกอล์ฟ ปัจจุบันำธุรกิจด้านกีฬา เดินทางไปมาระหว่างไทยกับเกาหลี และกำลังทำงานให้กับ Happy City Korea ที่จังหวัดเชียงราย